บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2018

บล็อกไดอะแกรม วงจรเครื่องรับ-ส่งวิทยุสื่สาร

รูปภาพ
บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับ-ส่งวิทยุสื่อสาร วิทยุสื่อสาร วิทยุสื่อสาร  หรือเรียกอีกชื่อว่า  วิทยุคมนาคม  เป็นอุปกรณ์ที่แปลง กระแสไฟฟ้า เป็น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ประกอบเป็น  ภาครับ  และ  ภาคส่ง  แผ่กระจายคลื่นวิทยุออกทาง สายอากาศ  เป็นเครื่องมือในการสื่อสารชนิดกึ่งสองทาง ถูกนำมาใช้งานในหลายประเภท เช่น วิทยุราชการ  วิทยุสมัครเล่น  และวิทยุภาคประชาชน เป็นต้น ทำงานโดยแปลงกระแสไฟฟ้าเป็นคลื่นแม่เหล็กแบ่งเป็นภาครับ และภาคส่งแผ่กระจายคลื่นวิทยุออกทางสายอากาศ คลื่นวิทยุ คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ถูกคิดค้นโดย เจมส์แมกซ์เวลล์ (James c. Maxwell)  เมื่อสามร้อยกว่า ปีมาแล้ว(ปี ค.ศ.1864) ต่อมา ไฮริชเฮิรตซ์ (Heinrich Hertz) เป็นผู้ทดลองพิสูจน์ว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้เป็น บล็อกไดอะแกรมเครื่องส่งวิทยุสื่อสาร บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับวิทยุสื่อสาร

การทำงานบล็อกไดอะแกรม ของเครื่องรับวิทยุ AM,FM

รูปภาพ
การทำงาน ของเครื่องรับวิทยุ AM,FM ครื่องรับวิทยุ  เป็นเครื่องมือสื่อสารทางเดียวชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่รับและเลือก คลื่นวิทยุ จาก สายอากาศ  แล้วนำไปสู่ภาคขยายต่อไป โดยมีช่วง ความถี่ ของคลื่นที่กว้าง แล้วแต่ประเภทของการใช้งาน โดยทั่วไป คำว่า "เครื่องวิทยุ" มักจะใช้เรียกเครื่องรับสัญญาณความถี่กระจายเสียง เพื่อส่งข่าวสาร และความบันเทิง โดยมีย่านความถี่หลักๆ คือ คลื่นสั้น คลื่นกลาง และคลื่นยาว ประวัติ เครื่องรับวิทยุเกิดขึ้นในราว  พ.ศ. 2439  ในงานจัดแสดงของรัสเซีย โดย Alexander Stepanovich Popov ใน ประเทศไทย ยุคแรกประมาณปี  พ.ศ. 2470  ได้ติดตั้งเครื่องส่งวิทยุระบบ AM ขนาด 200 วัตต์ ณ ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข โดยการควบคุมของช่างวิทยุกรมไปรษณีย์โทรเลข นับเป็นครั้งแรกที่มีเครื่องส่งวิทยุกระจายเสียงออกอากาศ เครื่องรับวิทยุในยุคแรกนั้นเป็น ชนิดแร่  มีเสียงเบามากและต้องใช้หูฟัง ต่อมาเปลี่ยนเป็นเครื่องรับชนิดหลอดสุญญากาศ มีความดังมากขึ้น เช่น เครื่องรับชนิด 4 หลอด ถึง 8 หลอด ประมาณปี พ.ศ. 2500 เป็นยุคเครื่องรับวิทยุ ทรานซิสเตอร์  แต่ระยะแรกๆ ยังมีขนาดใหญ่มากและต่อมามี

อธิบายการทำงาน บล็อกไดอะแกรม ของเครื่องรับวิทยุ AM,FM

รูปภาพ
การทำงานของบล็อกไดอะแกรมเครื่องรับวิทยุAM,FM การทำงานของบล็อกไดอะแกรมเครื่องรับวิทยุAM ในวงจร Mixer จะทำการผสมสัญญาณRF กับสัญญาณจาก Local Oscillator ซึ่งความถี่ทั้งสองนี้จะห่างกันอยู่ เท่ากับ 455 KHz พอดี (ห่างกันเท่ากับความถี่ IF) สมมุติว่าเราต้องการรับสัญญาณวิทยุ AM ที่ความถี่ 1000 KHz วงจรขยาย RF ก็ต้องจูนและขยายความถี่ 1000 KHz เป็นหลัก และยอมให้ความถี่ใกล้เคียงบริเวณ 1000 KHz เข้ามาได้เล็กน้อย การจูนความถี่นอกจากจะจูนภาคขยาย RF แล้วยังจะจูนวงจร Local Oscillator ด้วย (วิทยุ AM แบบใช้มือจูน) ความถี่ของ Local Oscillator จะเท่ากับ 1000 KHz +455 KHz = 1455 KHz พอดี เมื่อสัญญาณทั้ง RF และจาก Local Oscillator ป้อนเข้ามาที่วงจร Mixer ซึ่งเป็นวงจรที่ทำงานแบบ นอนลิเนียร์ สัญญาณที่ออกมาจะมี่ทั้งสัญญาณผลบวกและผลต่าง เมื่อป้อนให้กับวงจร IF ซึ่งจูนรับความถี่ 45 KHz ดังนั้นสัญญาณผลรวมจะถูกตัดทิ้งไป คงไว้แต่สัญญาณของความถี่ผลต่าง (1455 KHZ - 1000 KHz = 455 KHz)วงจรขยาย IF ก็คือวงจรขยาย RF ที่จูนความถี่เอาไว้เฉพาะ ที่ความถี่ 455 KHz วงจรขยาย IF อาจจะมีด้วยกันหลายภาค เพื่อให้มีอัตราการขยายสัญญาณ

การทำงานบล็อกไดอะแกรม วงจรเครื่องรับ-ส่งวิทยุสื่อสาร

รูปภาพ
การทำงานของบล็อกไดอะแกรมเครื่องรับส่งวิทยุสื่อสาร   วิทยุสื่อสาร                              วิทยุสื่อสารหรือเรียกอีกชื่อว่า วิทยุคมนาคม เป็นอุปกรณ์ที่แปลงกระแสไฟฟ้า เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบเป็น ภาครับ และภาคส่ง แผ่กระจายคลื่นวิทยุออกทางสายอากาศ เป็นเครื่องมือในสื่อสารชนิดกึ่งสองทาง ถูกนำมาใช้งานในหลายประเภท เช่น วิทยุราชการ วิทยุสมัครเล่น  วิทยุภาคประชาชน เป็นต้น ส่วนประกอบวิทยุสื่อสาร ส่วนประกอบของวิทยุสื่อสารแบ่งออกได้เป็น 3ส่วนหลักๆ คือ 1.ตัวเครื่อง ตัวเครื่องของวิทยุสื่อสารจะเป็นส่วนที่ประกอบไปด้วยแผงวงจรและอุปกรณ์ต่างๆที่เครื่องวิทยุสื่อสารแต่ละรุ่นถูกออกแบบมา 2.แหล่งพลังงาน แหล่งพลังงานคือตัวจ่ายกระแสไฟฟ้า ซึ่งเป็นส่วนที่จะป้อนพลังงานให้กับตัวเครื่องให้เครื่องวิทยุสื่อสารามารถ ทำงานได้ ซึ่งจะมีทั้งแบบแหล่งพลังงานแบบแบตเตอรี่แพค(battery pack) และแบบไฟฟ้ากระแสตรง(DC volts) 3.สายอากาศ เป็นส่วนที่ทำหน้าที่รับสัญญาณวิทยุ ที่อยู่ในรูปแบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเข้ามาในตัวเครื่องเพื่อผ่านการแปลงเป็นกระแสไฟฟ้า  และในทางกลับกันสายอากาศ จะทำหน้าที่แพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่ผ่านการแปล

เครื่องรับส่งวิทยุสื่อสาร

รูปภาพ
การทำงานของบล็อกไดอะแกรมเครื่องส่งวิทยุAM,FM การทำงานของบล็อกไดอะแกรมเครื่องส่งวิทยุAM เมื่อมีการออกอาอาศ สัญญาณเสียงต่างๆ ที่มีความถี่ต่ำมนุษย์สามารถได้ยินได้ในระยะใกล้นั้น จะถูกส่งไปเปลี่ยนรูปเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าทางไมโครโฟน(หรืออุปกรณ์อื่น) คลื่นที่ถูกเปลี่ยนจะถูกนำไปที่ตัวเครื่องส่ง (Transmitter)ปรับกับคลื่นสัญญาณอีกตัวหนึ่ง ซึ่งมีความถี่สูงมาก เรียกว่าคลื่นนำพา โดยคลื่นนำพานี้จะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละสถานีเช่น สถานี ก. มีคลื่นนำพาที่มีค่าความถี่หนึ่ง ส่วนสถานี ข. จะมีีคลื่นนำพาที่มีค่าความถี่อีกค่าอีกหนึ่ง ซึ่งต้องต่างจากสถานี ก. รวมถึงสถานีอื่นๆที่มีการตั้งอยู่ก่อนด้วย โดยคลื่นเสียงที่เข้ามาจะไปบังคับให้คลื่นนำพามีการเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามคลื่นเสียงแต่มีความถี่เท่าเดิม ซึ่งคลื่นตัวนี้จะถูกส่งออกไปในอากาศจากเสาส่ง เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการส่งสัญญาณ การทำงานของบล็อกไดอะแกรมเครื่องส่งวิทยุFM หลังจากที่ได้รับตัวสัญญาณเสียงจากไมโครโฟนหรือแหล่งเสียงอื่นๆแล้ว สัญญาณเสียงจะถูกเปลี่ยนรูปเป็นสัญญาณไฟฟ้า สัญญาณไฟฟ้านั้นจะถูกนำไปเข้าระบบ Amplifier เพื่อขยายกำลังของสัญญาณเสียงท