บทความ

ระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่

รูปภาพ
โทรศัพท์มือถือ   หรือ   โทรศัพท์เคลื่อนที่   คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้ใน การสื่อสาร สองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้ คลื่นวิทยุ ในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่าน สถานีฐาน   โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่นโทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อ สมาร์ทโฟน            โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของ โทรศัพท์ แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้น เอสเอ็มเอส   ปฏิทิน   นาฬิกาปลุก   ตารางนัดหมาย   เกม   การใช้งานอินเทอร์เน็ต   บลูทูธ   อินฟราเรด   กล้องถ่ายภาพ   เอ็มเอ็มเอส วิทยุ   เครื่องเล่นเพลง  และ  จีพีเอส  และมีการพัฒนา   2G   และ 3G  G  ย่อมาจากคำว่า (Generation)  โทรศัพท์มือถือในยุค    2 G  เป็น ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ  digital   ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น  GSM ,  cdmaOne ,  PDC   มีการพัฒนารูปแบบการส่งคลื่นเสียงแบบ Analog มาเป็น Digital โดยการเข้ารหัส โดยส่งคลื่นเส

Head Set และ Charger Connector

รูปภาพ
Head Set หูฟัง (อังกฤษ: headphone) เป็นอุปกรณ์เครื่องเสียงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยมีหน้าที่คล้ายกับลำโพง ประกอบด้วยตัวหูฟัง จะได้ยินเสียงเมื่อนำไปครอบกับหู และไมโครโฟนขนาดเล็กในตัวสำหรับใช้สำหรับติดต่อสื่อสารเพื่อการพูดได้ เช่นทางโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น รวมถึงใช้เป็นสิ่งบันเทิงในการฟังเพลงเล่นวิดีโอเกมส์ ปรับให้เข้ากับกระบวนการทำงานต่าง ๆ ที่ต้องใช้เสียง สามารถพกพาไปในสถานที่ต่าง ๆ ได้เพราะมีน้ำหนักเบา การเลือก Headset ควรคำนึงถึงอะไรบ้าง • อุปกรณ์ Headset ควรจะมีน้ำหนักเบา • รูปแบบของ Headset ไม่ใหญ่เทอะทะ ใช้งานสะดวก • วัสดุของอุปกรณ์ Headset แข็งแรงทนทาน • สามารถปรับขนาดเมื่อสวมศีรษะให้ใหญ่หรือเล็กได้ • เมื่อสวมใส่แล้วไม่บีบหรือกดบริเวณศีรษะเกินไป • ส่วนหูฟังจะต้องได้ยินเสียงที่ชัดเจนไม่มีเสียงรบกวน • ส่วนไมค์เมื่อเปล่งเสียงแล้วปลายทางได้ยินชัด เสียงรอบข้างไม่ควรจะดังกว่าผู้พูด ในบางรุ่นอาจมีตัดเสียงรบกวนรอบข้าง การเลือก Headset ที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก อุปกรณ์ Headset ที่ดีมีคุณภาพ จะมีส่วนช่วยให
รูปภาพ
แฟลชคอนเนคเตอร์( FLASH CONNECTOR) ช่องเสียบแฟลชขนาดกะทัดรัด ตัวเชื่อมต่อ Compact Flash ถูกรวมเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาเพื่อรองรับการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ CompactFlash (CF) เป็นรูปแบบอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา ตัวเชื่อมต่อ CompactFlash ยังคงได้รับการสนับสนุนจากอุปกรณ์สิ้นเปลืองสำหรับผู้บริโภคระดับไฮเอนด์และในงานระดับมืออาชีพ CompactFlash ยังคงเป็นส่วนสำคัญในอุปกรณ์ต่างๆเช่นกล้องดิจิตอล CFast เป็นรูปแบบ CompactFlash ที่ใช้บัส Serial ATA ตัวเชื่อมต่อแฟลชสำหรับพีซีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และตั้งชื่อว่า " PC" ประเภทนี้เป็นเวลากว่า 30 ปี PC หรือ Prontor / Compur ซ็อกเก็ตการซิงค์แฟลชภายนอกและในขณะที่ฉันเคยเป็นมาตรฐานสำหรับกล้องทั้งหมดยกเว้นกล้องที่ง่ายที่สุดวันนี้มีเพียงกล้องที่ดีที่สุดเท่านั้น ตัวเชื่อมต่อแฟลชของ PC ถูกคิดค้นขึ้นในปี 1950 โดยผู้ผลิตบานเกล็ดสองแห่งคือ Gauthier และ Deckel เป็นวิธีการเชื่อมต่อแฟลชภายนอกเข้ากับชัตเตอร์แบบมาตรฐานเพื่อให้ชัตเตอร์สามารถทำข้อมูลให้ตรงกันกับแฟลชได้อย่างน่าเชื่

User Interface หรือ UI

รูปภาพ
User Interface หรือ UI ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (อังกฤษ: user interface, UI) หมายถึง สิ่งที่มีไว้ให้ผู้ใช้ใช้ในการกระทำกับระบบหรือสิ่งของต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องจักร เครื่องกล อุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าใดๆ หรือระบบที่มีความซับซ้อนอื่นๆ เพื่อให้สิ่งๆนั้นทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ 1. ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้สามารถจัดได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ได้แก่ 2. ส่วนที่นำข้อมูลเข้า หรือส่วนสั่งงาน เรียกว่า อินพุต ( input) 3. ส่วนที่ใช้แสดงผลลัพธ์ หรือส่วนที่ไว้รอคำสั่งจากผู้ใช้ เรียกว่า เอาต์พุต ( output) ความนำ การใช้งานระบบใดๆที่มีความสลับซับซ้อน จะมีหลักการทำงานพื้นฐานอยู่ 3 ส่วนคือ ส่วนอินพุท ( input) ส่วนการประมวล ( process) และส่วนเอาต์พุต ( output) ซึ่งส่วนการนำเข้าและส่วนแสดงผลลัพธ์เป็นส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรงจึงเรียกว่า ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ ตัวอย่างของส่วนต่อประสานกับผู้ใช้เช่น เครื่องคิดเลข จะมีส่วนอินพุทคือแป้นตัวเลข 0-9 และเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ผู้ใช้จะต้องกดหมายเลขที่ต้องการคำนวณผลผ่านแป้นตัวเลขนั้น และเมื่อเครื่องคิดเลขทำการประมวลผลเสร็จสิ้น ก็จะแสดงผล

ภาคBASEBAND หรือ ภาคBB

รูปภาพ
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ ( Baseband) จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบ Baseband รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ(เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน modems และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลักๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B-ISDN ที่เป็นแบบ Broadband Baseband   คือการเข้ารหัส ทางดิจิตอล โดยมีค่าทางไฟฟ้า 0 และ 1 โดยแบ่งออกเป็ตามมาตรฐาน ต่างๆ ดังนี้ 10 Base 5 , 10 ฺ Base 2 ,10 Base-T, 1Base5 และ 100 ฺ Base-T โดยตามมาตรฐานคือการส่งสัญญาณ 10 Base xx คือ 10 Mbps ส่วนด้านหลังคือความยาวของสาย เช่น 100Base -T คือ ความเร็ว 100 Mbps ใช้บนสาย Pair หรือสายแลน โดย    Baseband    จะใช้วิธีการส่ง คือช่องสื่อสารเดียว ซึ่งแตกต่างกับ แบบ   Broadband ที่ สายสัญญาณ 1 เส้น สามารถ